วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  19 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


      ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...


         กิจกรรมที่ 1 ... 
           
             อาจารย์แจกกระดาษ 1 แผ่น ให้พับแบ่งกับเพื่อน 1 แผ่นใช้ได้ 4 คน
              พับครึ่งกระดาษของตัวเอง แล้ววาดรูปให้สัมพันธ์กัน 2 รูป
              วาดเสร็จให้นำไม้เสียบลูกขึ้นมาติดกลางหน้ากระดาษด้านใน โดยในรูปอยู่ด้านนอก
              ติดกาวให้กระดาษด้านในติดกัน
             ใช้มือหมุนที่ด้ามไม้จะเกิดภาพทับกัน

          กิจกรรมที่ 2 ... 

              อาจารย์มีสิ่งประดิษฐ์ 1 สิ่ง รูปร่างเป็นทรงกระบอก แจกให้นักศึกษาทุกคนสังเกต
     เมื่อมองจากภายนอกก็จไม่รู้ว่ามีอะไรอยู่ภายใน แต่เมือส่องเข้าไปด้านใน 
     แล้วเอนกระบอกขึ้น - ลง จะพบว่ามีลูปปิงปองอยู่ด้านใน ภายนอกจะมีแสงผ่าน
     จะทำให้มองเห็นลูกปิงปอง แต่ถ้าเราเอามือปิดกระบอก จะทำให้ไม่มีแสงผ่าน 
     เราจะมองลูกปิงปองไม่เห็น
             กิจกรรมนี้จะสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5

          เพื่อนได้ออกมานำเสนอบทความหน้าห้อง มีหัวข้อดังนี้ 

       1. สอนลูกเรื่องปรากฎการธรมมชาติ
       2. สอนลูกเรื่องสัตว์
       3. การสอนวิทยสศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เรื่องศิลปะกับวิทยาศาสตร์

           สรุปเนื้อหา 









      การนำไปประยุกต์ใช้ ...

        - จากกิจกรรมที่ประดิษฐ์ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สามารถนำกิจกรรมนี้ไปสอน
     เด็กปฐมวัยได้
        - เมื่อเด็กได้เล่น เด็กได้รู้จักการสังเกต ทำให้เด็กได้ฝึกคิด รู้จักวิธีการตั้งคำถาม 
        - นำเอาบทความที่เพื่อนๆนำเสนอมาปรับใช่ในอนาคตได้
        - นำหลักในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก โดยการเอาสื่อของจริงมาให้เด็กศึกษา
     จะมีผลให้เด็กเกิดความสนใจและอยากรู้มากกว่าสื่อจำลอง





       วิธีการสอน ...
       
        - อาจารย์ใช้รูปแบบการสอนโดยมีสื่อ Pawer Point และอาจารย์ก็อธิบายเนื้อหานอกเหนือ
      จากใน Pawer Point เพื่อให้ชัดเจน และเข้าใจมากยิ่งขึ้น
        - มีคำถามให้นักศึกษาได้ร่วมกันคิด ร่วมกันตอบ
        - มีการยกตัวอย่างเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
        - มีการใช้เพลงในการตั้งคำถาม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกคิดหาคำตอบ
        - ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง








วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


บันทึกอนุทิน


วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  12 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


      ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...  

        ก่อนเรียนเพื่อนได้ออกมานำเสนอบทความหน้าห้อง มีหัวข้อดังนี้
    1. การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    2. วิทยาศาสตร์กับการทดลอง
    3. เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย เทคนิคการเลือและเล่านิทาน

            สรุปเนื้อหา     








     การนำไปประยุกต์ใช้ ...

       - นำบทความที่เพื่อนๆออกมานำเสนอไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมได้
       - นำกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ขั้นตอน ไปใช้ในการจัดประสบการณ์
    ให้กับเด็กได้
       - นำหลักวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือ เน้นให้เด็กได้ทดลง ลงมือกระทำมากกว่าการ
    สอนบรรยายไปประยุกต์ใช้กับเด็กได้
       - การใช้คำถาม ต้องคำนึงถึงเด็กด้วย


                                


      วิธีการสอน ...
       
        - อาจารย์ใช้รูปแบบการสอนโดยมีสื่อ Pawer Point และอาจารย์ก็อธิบายเนื้อหานอกเหนือ
      จากใน Pawer Point เพื่อให้ชัดเจน และเข้าใจมากยิ่งขึ้น
        - มีคำถามให้นักศึกษาได้ร่วมกันคิด ร่วมกันตอบ
        - มีการยกตัวอย่างเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น








วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3



บันทึกอนุทิน


วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  5 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.



       ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

              สรุปเนื้อหา     




     ท้ายคาบอาจารย์ก็ให้เพื่อนๆนำเสนอบทความ มีเลขที่ 1 - 5 ซึ้งมีหัวข้อดังนี้ 

       1. การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       2. กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาล
       3. สอนลูกเรื่องพืช
       4. 5แนวทางการคิด เติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล





       การนำไปประยุกต์ใช้ ...

    - เมื่อเรารู้ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ทำให้เราสามารถ
      จัดกิจกรรมให้เด็กได้
    - นำเทคนิคการสอนของอาจารย์โดยใช้คำถามปลายเปิด ไปฝึกใช้ในการตั้งคำถามกับเด็กได้




       วิธีการสอน ...

      - อาจารย์ใช้รูปแบบการสอนโดยมีสื่อ Pawer Point และอาจารย์ก็อธิบายเนื้อหานอกเหนือ
        จากใน Pawer Point เพื่อให้ชัดเจน และเข้าใจมากยิ่งขึ้น
     - มีคำถามให้นักศึกษาได้ร่วมกันคิด ร่วมกันตอบ
     - ท้ายคาบอาจารย์ก็แจกกระดาษให้นักศึกษาสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนวันนี้











วันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน


สรุปบทความ

    สอนลูกเรื่องอากาศ





  ผู้เขียน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุบผา เรืองรอง 
อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
การสอนลูกเรื่องอากาศ หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้ถึงส่วนผสมของก๊าซต่างๆ
และไอน้ำ รู้คุณสมบัติของอากาศว่าไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น
เด็กปฐมวัยเป็นวัยอยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย เด็กมักจะมีคำถามอยู่เสมอ ว่าสิ่งนั้นคืออะไร ทำไมเป็นอย่างนั้น เช่น เด็กมีคำถามเสมอว่า อากาศ คืออะไร มาจากไหน ทำไมหนูจับไม่ได้ วันนี้หนูอยากอาบน้ำเพราะร้อนมากๆ ทำไมเป็นอย่างนั้น หนูชอบวิ่งเล่นใต้ต้นไม้ เพราะเย็นกว่าในห้อง ทำไมเป็นเช่นนั้น ทำไมบางครั้งลมพัดเร็วมากจนโค่นต้นไม้หักลงมาได้ คำถามที่น่าสนใจของเด็ก จึงควรนำมาจัดเป็นกิจ กรรมเรียนรู้สำหรับเด็ก เรื่องอากาศ เพื่อพัฒนาความสามารถของเด็ก

การสอนเรื่องอากาศสำคัญ ดังนี้
- อากาศเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตของคนเรา สำหรับเด็ก เขาจะเริ่มสังเกตจากความจริงของชีวิตว่า เขามีสิ่งหนึ่งเข้าออกผ่านช่องจมูก เมื่อ ไหร่ที่เขาหายใจไม่สะดวก เพราะเป็นหวัด หรือมีสิ่งที่มาปิดช่องจมูก เด็กจะกระวนกระวาย ดิ้นรน เพื่อจะหายใจเข้าออกให้เป็นปกติ - เด็กสัมผัสอากาศตลอดเวลา ผ่านผิวหนังที่ทำให้เขาเกิดความรู้สึก ร้อน หนาว อุ่น สบาย - อากาศมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลมที่พัดปกติ พัดผ่านใบไม้ๆจะไหวไปมา เศษกระดาษปลิวไปอีกที่หนึ่งได้ เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นได้ในโลกนี้ เพราะอากาศมีอิทธิพลส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม - เรื่องอากาศที่ดีเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นที่ทุกคนควรรู้ และรักษาสภาพอากาศที่ดีให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพควรได้รับการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก จึงเป็นเรื่องควรอบรมสั่งสอนเด็กปฐมวัยด้วย

การสอนเรื่องอากาศมีประโยชน์ต่อเด็ก ดังนี้
- เด็กจะได้เรียนรู้เรื่องของอากาศ เพื่อพัฒนาความคิดจากทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้เรื่องอากาศ ซึ่งเป็นธรรมชาติที่จำเป็นต่อชีวิต จากประสบการณ์ตรง - เด็กจะมีความสนุกจากการเรียนเรื่องอากาศที่น่าเรียน ตอบข้อสงสัยในสิ่งที่มองไม่เห็น แต่สิ่งนั้นมีอยู่ ชวนให้เด็กช่างสงสัย และคิดหาคำตอบต่อไป
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องอากาศ
กิจกรรมสร้างสรรค์ กลุ่มงานประดิษฐ์ ให้เด็กๆช่วยกันทำพวงแขวนจากกระดาษหนังสือพิมพ์
ทำเป็นรูปก้อนเมฆ ประกบกันเป็นคู่ ทากาว ภายในอัดเศษกระดาษ กลางก้อนเมฆ เพื่อทำให้ก้อนเมฆนูน ป่องสวยงาม แขวนกับไม้แขวนเสื้อ แล้วนำไปแขวนที่ระเบียง หรือหน้าต่าง ให้เด็กเฝ้าสังเกตก้อนเมฆที่แกว่งไปมาเพราะลมพัดผ่าน


                             









วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  29  สิงหาคม  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.

      วันนี้เป็นวันรับน้องของมหาวิทยาลัย ไม่มีการเรียนการสอน 


















บันทึกอนุทินคร้งที่ 1


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  22  สิงหาคม  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.

      ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

     อาจารย์ได้บอกเกี่ยวกับข้อตลงของการเรียนในวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- แต่งกายให้เรียบร้อย ( เสื้อเอกสีชมู ) เก็บผมให้เรียบร้อย
- ตรงต่อเวลา ห้ามสายเกิน 10 นาที
- มารยาทใยการเรียน การพูดคุยในห้องเรียน ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดในขณะที่เรียน
- การเรียน มีบันทึกอนุทินทุกครั้งที่เรียน Blogger 
    นอกจากนี้อาจารย์ได้บอกวิธีการทำ Blogger และได้ให้ดูตัวอย่างการทำ Blogger 

     การทำ Blogger ควรมีหัวข้อดังนี้ 

1. สรุปเนื้อหาที่ได้เรียนในแต่ละครั้งลงใน Blogger
2. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไรบ้าง
3. ครูสอนใช้เทคนิคอะไรบ้าง
4. ให้นักศึกษา Link วิทยานิพนธ์

    อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ต้องเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว สิ่งแวดล้อม สัตว์ต่างๆที่ควรจะสอนเนื้อหาให้เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย ในแต่ละวันที่เราจะสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย ควรมีกิจกรรมที่เสริมทักษะให้เด็กได้คิด ได้ทดลองทำด้วยตัวเอง อาจจะมีเพลงสอดแทรกเข้าไป เพื่อไม่ให้บรรยากาศในการเรียนตึงเครียดและทำให้เด็กอยากที่จะเรียนรู้ต่อไป




     การนำไปประยุกต์ใช้ ...
   
   - นำเนื้อหาที่อาจารย์อธิบายไปปรยุกต์ใช้ในการรียน เพื่อให้ตรงตามเนื้อหาในรายวิชา
   - สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับการเรียน ทั้งด้านมารยาท การแต่งกาย
 เพื่อเด็กจะเกิดความรับผิดชอบ และสังเกตพัฒนาการของเด็กได้
   - ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้เเก่เด็กปฐมวัย