วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันอาทิตย์ที่  28  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557


เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


      วันนี้เป็นการเรียนครั้งสุดท้ายของภาคเรียนในรายวิชานี้ 

              หมายเหตุ : ดิฉันไม่ได้มาเรียน เนื่องจากไม่สบาย 










วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันอาทิตย์ที่  21  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


      ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

           กิจกรรมที่ 1 อาจารย์ให้นำของเล่นวิทยาศาสตร์มาส่ง



ประเภทน้ำ



ประเภทลม



ประเภทเสียง



ประเภทแรงโน้มถ่วง





     กิจกรรมที่ 2 เพื่อนออกมานำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครู มีหัวข้อดังนี้

      1. ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ ขั้นอนุบาลปี ที่ 2
      2. การพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสตร์ ชั้น อนุบาล 2 
      3. การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการจัดกิจกรรม
         ทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร

          โทรทัศน์ครู
     1. สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาตร์
     2. จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย






    กิจกรรมที่ 3 อาจารย์ให้ลงมือปฏิบัติทำ Cooking  WAFFLES





      ประเมินผล ...

         ประเมินตนเอง : การเรียนในวันนี้บรรยากาศสนุกสนาน ไม่ตึงเครียด เพราะมีความสุข
   กับการทำวาฟเฟิล ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ดิฉันเคยทำรู้สึกตื่นเต้นมาก

         ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆบางคนไม่ฟังคำสั่งอาจารย์ในขณะที่ทำกิจกรรม ทำให้เสียเวล
   และเกิดความวุ่นวาย แต่เพื่อนบางคนก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  ทุกคนสนุกสนานและตื่นเต้น
   กับการทำกิจกรรมในครั้งนี้มาก

         ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ได้บอกวิธีการทำขนมแบบง่ายๆ ให้แก่นักศึกษา อาจารย์มีการ
   เตรียมสื่อ อุปกรณ์ที่น่าสนใจ ใช่สท่อที่เป็นจริง นอกจากนี้อาจารย์ยังสรุป วิจัย ที่เพื่อออกมานำเสนอ
   แต่ล่ะครั้งจะทำให้เข้าใจ ว่ายขึ้นและได้สาระเป็นอย่างมาก







บันทึกอนุทินครั้งที่ 13


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันอาทิตย์ที่  14  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.



      ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

         กิจกรรมที่ 1 อาจารย์ให้กลุ่มที่ยังไม่นำเสนอเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาออกมานำเสนอ
   แผนการจัดประสบการณ์ เรื่องหน่วยต่างๆ



กลุ่มที่ 7 หน่อย "แปรงฟัน"

      ขั้นนำ

         ครูนำคำคล้องชนิดของแปรงสีฟัน

                         แปรงสีฟันมีหลายชนิด          แต่ละชนิดมีดีต่างกัน
                  แปรงสีฟันไฟฟ้านั้น                   รวดเร็วพลันใช้ได้อย่างดี
                  แปรงสีฟันผู้ใหญ่ก็มี                  สะอาดดีเพราะเราแปรงฟัน


        ขั้นสอน

              สอนเด็กในเนื้อหาคำคล้องจองมีแปรงสีฟันชนิดไหนบ้าง แล้วที่ไม่มีในคำคล้องจอง
   เด็กยังรู้จักแปรงสีฟันชนิดไหนอีกบ้าง  จากนั้นครูจดคำตอบของเด็กๆ ลงในแผ่นชาร์ต
   จากนั้นมีรูป ถามเด็กเกี่ยวกับรูปภาพแปรงสีฟันที่ครูนำมา แล้วให้เด็กแยกประเภท 
   แล้วก็จับคู่1ต่อ1 จากนั้นให้เด็กหยิบนับ ถ้าชนิดไหนหใดก่อน แสดงว่าชนิดนั้นมีน้อยกว่า 

       ขั้นสรุป 
   
              เด็กร่วมกันสรุปว่ารูปแปรงสีฟันที่ครูนำมามีชนิดไหนบ้าง สีอะไรบ้าง ชนิดไหนมากกว่ากัน



                             




กลุ่มที่8 หน่วย "ผีเสื้อ"

       ขั้นนำ

             นำด้วยเพลง ผีเสื้อ

                                ผีเสื้อเอยแสนงาม ดอมดมกลิ่งดอกไม้
                    มีทั้งสีเขียว สีเหลืองมากมาย ชั่งดูสดใส สีม่วง สีแดงเอย

       ขั้นสอน 

             นำรูปผีเสื้อมาให้เด็กดู แล้วถามเด็กว่าผีเสื้อชื่ออะไร แล้วให้เด็กๆสังเกตว่ามีสี ขนาด 
   รูปร่าง ส่วนประกอบ แล้วครูบันทึกลงในตาราง  จากนั้นหาความสัมพันธ์เหมือนต่าง

       ขั้นสรุป

             ทบทวนลักษณะของผีเสื้อ







กลุ่มที่9 หน่วย "กล้วย"

       ขั้นนำ 

             นำด้วยคำคล้องจอง กล้วย

                              กล้วยคือผลไม้             ใครๆก็ชอบกินกล้วย

                      ค้างคาวช้างลิงฉันก็ด้วย       กินกล้วยมีวิตตามิน

                      ลัล ลา ลัล ลา...

       ขั้นสอน

            ครูนำภาพกล้วยชนิดต่างๆ มาให้เด็กดู  จากนั้นให้เด็กแยกกล้วยหอมและไม่ใช่กล้วยหอม  
   แล้วให้เด็กหยิบออกและให้นับทีละหนึ่งต่อิหนึ่ง เพื่อเปรียบเทียบมากกว่าน้อยกว่า ถ้าชนิดไหน
   หมดก่อนแสดงว่าน้อยกว่า แต่ถ้าชนิดไหนยังเหลือแสดงว่ามากกว่า

       ขั้นสรุป

            เด็กและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับกล้วย

  


      กิจกรรมที่ 2 อาจารย์ให้ลงมือปฏิบัติทำ Cooking  ทาโกยากิ








      กิจกรรมที่ 2 เพื่อนออกมานำเสนอวิจัย มีหัวข้อดังนี้

   1. ความสามารถของการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการกระบวนการวิทยาศาสตร์
       นอกห้องเรียน
   2. ผลจากการจัดประสบการณ์นอกห้องเรียนที่มีผลต่อการเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
   3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทาง
       วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

      วิธีการสอน ...

        - อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติเองทั้งหมด เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
   และสามารถแกไขปัญหาต่างๆได้เอง และอาจารย์ให้ได้อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักศึกษามีความ
   เข้าใจเพิ่มมากขึ้น


 


     ประเมินผล ...

        ประเมินตนเอง : ในการนำเสนอแผนกดดันเล็กน้อย เนื่องจากกลุ่มดิฉันไม่ได้เตรียมตัว
   มาดีเท่าไร ยังใช้ภาษาและคำถามไม่ค่อยดี ควรปรับปรุงและพยายามฝึกโดยใช้เทคนิค
   การใช้คำถามให้มากๆ สนุกกับการทำขนมทาโกยากิ ครั้งต่อไปอยากให้มีการทำขนมอย่างอื่นอีก

        ประเมินเพื่อน : ตั้งใจฟังเวลาเพื่อนกลุ่มอื่นออกมานำเสนอแผนการสอนและนำเสนอวิจัย 
   สนุกกับการทำทาโกยากิ แต่เพื่อนๆไม่ค่อยทำตามข้อตกลงที่อาจารย์ให้เมื่อทำกิจกรรมจะเกิด
   ความวุ่นวาย เนื่องจากทุกคนตื่นเต้นกับการทำกิจกรรม

        ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ให้คำแนะนำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีที่จะสอน เช่น ขั้นนำ ขั้นสอน 
   ขั้นสรุปกับนักศึกษาดีมาก และให้บางกลุ่มให้นำเสนออาทิตย์ต่อไปเพราะไม่ได้เตรียมการสอน
   และอาจารย์ได้เตรียมอุปกรณ์มาเพื่อให้นักศึกษาทำทาโกยากิ







Thai Teacher TV


  สรุปโทรทัศน์ครู  

  เรื่อง ... พ่อมดกอบวิทย์ สถานะของสาร  







       พ่อมดกอบวิทย์ สอนเรื่องสถานะของสาร คุณครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ รร.นนทรีวิทยา
   เมื่อคุณครูวิทยาศาสตร์ ม.1 แห่งโรงเรียนนนทรีวิทยา แสดงบทบาทสมมติเป็นพ่อมด 
   ที่ร่ายคาถาพานักเรียนเข้าสู่ดินแดนแห่งเว­ทมนต์ เพื่อเรียนรู้ เรื่อง สถานะของสาร 
   ชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตร์ที่แสนสนุกจึงไ­ด้เริ่มต้นขึ้น ชมเทคนิคการสอนที่กระตุ้นให้
   เด็กมีส่วนร่ว­มกับการเรียนรู้อย่างเต็มที่ของ คุณครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ เพื่อให้ลูกศิษย์ตัวน้อย
   ได้เข้าใจเรื่องสถ­านะของสารในระดับอนุภาค 

       สะสารมี 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส แต่ละสารถานะจะมีรูปร่างและปริมาตร
   ที่แต่งต่างกัน

       พ่อมดกอบวิทย์เริ่มการสอนโดยการให้นักเรียนจำนวนหนึ่งออกมาแสดงบทบาทสมมุติ
   โดยเปรียบเด็กแต่ละคนเป็นอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ จึงทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
   ด้วยตนเอง  มีการคิดวิคราะห์ตลอดเวลา  และทำให้นักเรียนมีความสนุกในการเรียน
   วิชาวิทยาศาสตร์มากขึ้น  ไม่เครียดในการเรียนมากเกินไป  ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับ
   ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์มากเลยค่ะที่ครูต้องพยายามหาสื่อที่เป็นรูปธรรม  ซึ่งนักเรียน
   เห็นได้ชัดที่สามารถทำให้นักเรียนสนใจเรียนวิทยาศาตร์เพิ่มขึ้น







       เมื่อครูกรอบวิทย์สอนจบแล้วก็จะให้นักเรียนเขียนใบสรุปความรู้ เพื่อทดสอบความเข้าใจ
   ในบทเรียน










Research



  สรุปวิทยานิพนธ์  

     ชื่อเรื่อง : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความพร้อมของเด็กนักเรียน
                    ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยการจัดประสบการณ์แบบโครงการ

     ผู้วิจัย : นางสาวศุภวารี  ศรีนวล    มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  ปี 2547






       การจัดประสบการณ์แบบโครงการเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
   เป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้โอกาสเด็กได้เรียนรู้ตามความคิดและวิธีของตนเอง เพื่อแสวงหาคำตอบ
   และเสนอผลงานได้เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกตามความถนัดแลัความสนใจ
   การค้นหาคำตอบด้วยงานที่สร้างขึ้น เด็กได้ฝึกการเรียนรู้ทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกทักษะการ
   แก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
   
       การวิจัยครั้งนี้มุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความพร้อม
   ของเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ที่มีประสิทธิภาพ
   ตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
   ศึกษาประสิทธิผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความพร้องของนักเรียน
   ชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้แผนการจัดประสบการณ์แบบโครงการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
   ครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 โรงเรียนพนมไพร 
   ตำบลพนมไพร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 39 คน
   เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดประสบการณ์แบบโครงการ จำนวน 3 แผน
   ชุดละ 10 ข้อ และแบบสังเกตพัฒนาการ จำนวน 4 ชุด

        การวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาทักษะการบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
   อนุบาลปีที่ 2 โดยการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ซึ้งมีขั้นตอนการวิจัยและผลการวิจัย ดังนี้
          1. ความมุ่งหมายของการวิจัย
          2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
          4. วิธีดำเนินการวิจัย
          5. การวิเคราะห์ข้อมูล
          6.สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          7. อภิปลายผล
          8. ข้อเสนอแนะ




   





วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12


บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันอาทิตย์ที่  7  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


       ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

           อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแผนการจัดประสบการณ์ เรื่องหน่วยต่างๆ



หน่วย "กบ"

          

หน่วย "ปลา"



หน่วย "ไก่"



หน่วย "กะหล่ำปลี"



หน่วย "ส้ม"



หน่วย "ดอกมะลิ"





      วิธีการสอน ...

        - อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติเองทั้งหมด เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
     และสามารถแกไขปัญหาต่างๆได้เอง




     ประเมินผล ...

        ประเมินตนเอง : สนุกตื่นเต้นเวลาที่เพื่อนออกมานำเสนอ กลุ่มที่ออกมาทำอาหารทำให้
  ได้ชิมดอกมะลิทอดซึ่งตัวดิฉันไม่เคยกินดอกมะลิเลย และได้ชิมปลาทูทอด น้ำส้ม 

       ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังเวลาที่แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ และให้ความร่วมมือ
  เวลาที่เพื่อนขอตัวแทนออกมาทำกิจกรรมหน้าห้อง เวลาที่กลุ่มที่ออกมาทำอาหารเพื่อนแต่ละคน
  จะสนุกสนานในการทำอาหาร และตั้งใจฟังอาจารย์ให้คำแนะนำเป็นส่วนใหญ่

      ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ให้คำแนะนำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีที่จะสอน เช่น ขั้นนำ ขั้นสอน 
   ขั้นสรุปกับนักศึกษาดีมาก และให้บางกลุ่มให้นำเสนออาทิตย์ต่อไปเพราะไม่ได้เตรียมการสอน